ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๓ | Volume 41 Issue 3

กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๕ | September-December 2022

นิพนธ์ต้นฉบับ | Original Article

การศึกษาอัตรารอดชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดเซลล์ไม่เล็กระยะลุกลามเฉพาะที่ ที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ฤทธิกร อภิณหพาณิชย์
ธิติวัฒน์ ศรีประสาธน์
วิชัย เบญจชลมาศ

PDF

การเปรียบเทียบผลและประเมินประสิทธิภาพของการเพาะเลี้ยงเชื้อ และพิสูจน์ชนิดของเชื้อวัณโรค ด้วยวิธีเลี้ยงเชื้อบนอาหารแข็ง กับวิธีเลี้ยงเชื้อในอาหารเหลว
ทิพย์ภารัตน์ ณ ศรีสุข
ชนัฎตรี ก๋ำดี
ลัดดา รัตนวิจิตร

PDF

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) ที่มีผลการตรวจยืนยันและได้รับแจ้ง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2563 ภายใต้กลไกพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558
อรรถกร จันทร์มาทอง
ลัดดาวัลย์ ปัญญา

PDF

บททบทวนวารสาร | Review Article

ทบทวนสูตรยาระยะสั้นที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
นฤมล ลือกิตตินันท์
PDF

เกี่ยวกับวารสาร | About Journal

ดัชนี | Index
PDF

ข้อแนะนำการเตรียมต้นฉบับ
PDF



ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๒ | Volume 41 Issue 2

พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๕ | May-August 2022

นิพนธ์ต้นฉบับ | Original Article

การศึกษาการใช้การส่องกล้องทางเดินหายใจส่วนล่างร่วมกับการตรวจโดยวิธีอณูชีววิทยา เพื่อวินิจฉัยโรควัณโรคปอด ในผู้ป่วยที่สงสัยวัณโรคปอดที่เสมหะไม่พบเชื้อ
เริงศักดิ์ สิงห์กาญจนโรจน์
PDF

ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานหรือดื้อยา Rifampicin (MDR/RR-TB) ด้วยสูตรยาระยะสั้น 9-11เดือน
ผลิน กมลวัทน์
อุษณีย์ อึ้งเจริญ
ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล
พิริยา เหรียญไตรรัตน์

PDF

ประสิทธิผลของ Xpert MTB/RIF® Ultra กับการตรวจพบเชื้อวัณโรคในประเทศไทย
วัลยา สิทธิ
สายใจ สมิทธิการ
วรรณนิศา เทพรงค์ทอง
ผลิน กมลวัทน์

PDF

บททบทวนวารสาร | Review Article

การสําลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจและการส่องกล้องหลอดลม
พรชัย โอภาสปัญญาสาร
พลตรีอนันต์ วัฒนธรรม
เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์
ศักรินทร์ กังสุกุล
กุลชาติ เอกภูมิมาศ

PDF

Thermal ablation of peripheral lung cancer: A narrative review of the role of bronchoscopic thermal ablation
Chayanon Songsomboon
Kamontip Kunwipakorn
Supparerk Disayabutr
Jamsak Tscheikuna

PDF

ข้อแนะนำในการเตรียมต้นฉบับ

PDF



ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๑ | Volume 41 Issue 1

มกราคม-เมษายน ๒๕๖๕ | January-April 2022

นิพนธ์ต้นฉบับ | Original Article

การศึกษาลักษณะและปัจจัยพยากรณ์โรคในผู้ป่วยมะเร็งปอด ที่ถูกวินิจฉัยเป็นวัณโรคปอดเสมหะลบมาก่อน
ปริพนธ์ พิชยพาณิชย์
ชวลิต ชยางศุ

PDF

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำ
จิรวัฒน์ วรสิงห์
ปรมัติ ศักดิ์แสน
ผลิน กมลวัทน์

PDF

บททบทวนวารสาร | Review Article

แนวทางการพิจารณาความพร้อมสำหรับการเดินทางทางอากาศของผู้ป่วยโรคปอด
ดุจรัตน์ สมบูรณ์วิบูลย์
PDF

เวชปฏิบัติ | Clinical Practice

ปัญหาลมรั่วขณะใช้เครื่องอัดอากาศ ในการรักษาภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
ภคณัช พรมเคียมอ่อน
ดวงพร เลิศศิลป์
ภาคภูมิ เชยชีพ

PDF

การช่วยแพทย์ทำหัตถการการเจาะตรวจผ่านผนังหลอดลม โดยการใช้ endobronchial ultrasound
มนฤทัย เด่นดวง
PDF



ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 | Volume 40 Issue 3

นิพนธ์ต้นฉบับ | Original Article

สถานการณ์วัณโรคดื้อยาหลายขนาน ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2560-2563
วรรณเพ็ญ จิตต์วิวัฒน์
สมศรี เจริญพิชิตนันท์
รำไพ รอยเวียงคำ

PDF

รายงานผู้ป่วย | Case Report

Successful Closure of a Bronchopleural Fistula by Intrapleural Administration of Fibrin Glue: A Case Report
ชนทัต ไตรทอง
ธิติวัฒน์ ศรีประสาธน์

PDF

บททบทวนวารสาร | Review Article

Mediatinal Lymph Node Evaluation in Non-Small cell Lung Cancer
Kamontip Kunwipakorn
Suparearg Disayabutr
Jamsak Tscheikuna

PDF

เวชปฏิบัติ | Clinical Practice

หน่วยตรวจสมรรถภาพปอดเคลื่อนที่
สุวัฒน์ ตั้งจิตยงสิวะ
PDF

การควบคุมคุณภาพในการทดสอบสมรรถภาพระบบการหายใจด้วยคลื่นความถี่ โดยวิธี Forced Oscillation Technique (FOT) และ Impulse Oscillometry System (IOS)
สิมาพร พรมสาร
สุวัฒน์ ตั้งจิตยงสิวะ
เรือตรีหญิงวัชราภรณ์ บุตรขำ

PDF

ดรรชนี | Index

PDF



ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 | Volume 40 issue 2

พฤษภาคม-สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ | May-August 2021

บทความพิเศษ/Special Article

COVID-19 Pneumonia
นิธิพัฒน์ เจียรกุล
PDF

นิพนธ์ต้นฉบับ/Original Article

ผลการตรวจคัดกรองวัณโรคปอดด้วยเอกซเรย์ปอดในผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ดี
จีราวัฒน์ แก้ววินัด
PDF

บททบทวนวารสาร/Review Article

ภาวะการเชื่อมต่อของหลอดอาหารและหลอดลม (Tracheoesophaeal fistula)
ปรภัสร์ อึ้งขจรกุล
พลตรีอนันต์ วัฒนธรรม

PDF

เวชปฏิบัติ/Clinical Practice

เทคนิคการติดอุปกรณ์ตรวจวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์ทางผิวหนัง ในผู้ป่วยตรวจการนอนหลับ
ภาคภูมิ เชยชีพ
กุสุมา มามณี

เอื้อมพร คชลัย
PDF

การเตรียมตัวผู้ป่วยก่อนการตรวจการนอนหลับในผู้ใหญ่ และเทคนิคการวัดศีรษะ: การติดสายสัญญาณต่างๆ
เอื้อมพร คชลัย

ภาคภูมิ เชยชีพ
ภคณัช พรมเคียมอ่อน

PDF



ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 | Volume 40 issue 1

มกราคม-เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔ | January-April 2021

นิพนธ์ต้นฉบับ/Original Article

ความชุกการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงในบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จากการตรวจด้วยวิธี Interferon-gamma Release Assay (IGRA)
บุญเชิด กลัดพ่วง
ชำนาญ ยุงไธสง
ผลิน กมลวัทน์

PDF

บททบทวนวารสาร/Review Article

ภาวะกระบังลมทำงานผิดปกติ
Diaphragmatic Dysfunction

อธิวัฒน์ ไตรพิพิธสิริวัฒน์
PDF

การใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวกชนิดต่อเนื่อง ในผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น
ดวงพร เลิศศิลป์
ธวัชชัย แพนอุชชวัน
กุสุมา มามณี

PDF

เทคนิคการแกะอุปกรณ์ตรวจการนอนหลับเพื่อช่วยลดการเกิดผิวหนังถูกทำลายจากวัสดุยึดติดทางการแพทย์
ธวัชชัย แพนอุชชวัน
ดวงพร เลิศศิลป์
เอื้อมพร คชลัย

PDF

รายงานผู้ป่วย/Case Report

ถอดบทเรียนการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก: รายแรกของประเทศภายหลังประกาศเป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 13
พีระพัชร ไทยสยาม
PDF



ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 | Volume 39 Issue 3

นิพนธ์ต้นฉบับ/Original Article

ผลของการใช้ออกซิเจนที่มีอัตราการไหลสูงในการลดภาวะพร่องออกซิเจน ระหว่างการส่องกล้องตรวจปอดและหลอดลม ที่ต้องทำหัตถการมากกว่า 1 ชนิด
ดาวรุ่ง ศิลาจำรูญ
ณับผลิกา กองพลพรม
ลาวรรณ สรสิทธิ์รุ่งสกุล
ขวัญเรือน วงษ์มณี

PDF

ปัจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตใน 48 ชั่วโมงของผู้ป่วยปอดอักเสบชุมชนในโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ชลาลัย คล้ายพิมพ์
PDF

บททบทวนวารสาร/Review Article

Pulmonary Langerhans Cell Histiocytosis
Siwadol Sunhapanit
Full text | PDF

เวชปฏิบัติ/Clinical Practice

บทบาทของนักตรวจการนอนหลับ ในด้านการให้บริการ CPAP Clinic จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19
กุสุมา มามณี
ธวัชชัย แพนอุชชวัน
ภคณัช พรมเคียมอ่อน
Full text | PDF

รายงานผู้ป่วย/Case Report

Iron deficiency anemia in a patient with active pulmonary tuberculosis: a case report
สมชาย อินทรศิริพงษ์
วัฒนะ อินทรศิริพงษ์

PDF

ดรรชนี/Index

PDF



CPAP clinic during covid-19 pandemic

เวชปฏิบัติ
Clinical Practice

บทบาทของนักตรวจการนอนหลับ ในด้านการให้บริการ CPAP Clinic จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19

กุสุมา มามณี วท.บ.
ธวัชชัย แพนอุชชวัน วท.ม.
ภคณัช พรมเคียมอ่อน วท.บ.

ศูนย์นิทรรักษ์ศิริราช
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล

บทนำ

ศูนย์นิทรรักษ์ศิริราช ได้จัดตั้งคลินิกเครื่องอัดอากาศแรงดันบวกชนิดต่อเนื่อง (CPAP Clinic) ให้การบริการเกี่ยวกับเครื่องอัดอากาศแรงดันบวกชนิดต่อเนื่อง (continuous positive airway pressure, CPAP) ในกระบวนการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจผิดปกติที่สัมพันธ์กับการหลับ (sleep-related breathing disorders) โดยอุบัติการณ์ (incidence) ที่พบมากเป็นผู้ป่วยที่มีการกรน (snoring) และ ผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (Obstructive Sleep Apnea: OSA) แต่เนื่องด้วยช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 เกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่รุนแรงและแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว  ทั่วโลกจึงจำเป็นต้องหาวิธีป้องกันตนเองเพื่อให้มีชีวิตรอดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ต่างไปจากวิถีเดิม จากสถานการณ์ดังกล่าว สถานพยาบาลจำเป็นต้องมี มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ซึ่งศูนย์นิทรรักษ์ศิริราช ได้เล็งเห็นความสำคัญ นักตรวจการนอนหลับจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน ภายใต้มาตรฐานการบริการที่เปลี่ยนไปจากเดิม เพื่อสร้างความปลอดภัยจากการติดเชื้อให้แก่ผู้รับบริการ บทความนี้จึงถูกจัดทำขึ้น เพื่อแสดงถึงบทบาทของนักตรวจการนอนหลับในการให้บริการ CPAP Clinic ในรูปแบบใหม่

คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโรค COVID-19  พบผู้คนเจ็บป่วย เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก สร้างความสูญเสียให้กับสังคมโลก ผู้คนต้องปรับตัวหาสิ่งป้องกัน เพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น คำว่า New Normal จึงเป็นที่คุ้นหูคุ้นตาในสังคม ราชบัณฑิตยสภา ได้ให้ความหมาย New Normal แปลว่า ความปกติใหม่ ฐานวิถีชีวิตใหม่ หมายถึง รูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ ที่แตกต่างจากอดีต อันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบ จนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติ ที่คนในสังคมคุ้นเคย อย่างเป็นปกติ และเคยคาดหมาย ล่วงหน้าได้ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ ที่ไม่คุ้นเคย 1

ศูนย์นิทรรักษ์ศิริราช นอกจากมีการให้บริการ การตรวจการนอนหลับอย่างครบวงจรแล้ว ยังมีบริการคลินิกเครื่องอัดอากาศแรงดันบวกชนิดต่อเนื่อง หรือที่เรียกว่า “Continuous Positive Airway Pressure: (CPAP)”2  ให้บริการยืม-คืน CPAP และอุปกรณ์, ถอดข้อมูล CPAP เพื่ออ่านผล, ซื้ออุปกรณ์, ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้งาน, ตลอดจนการซ่อมบำรุง  ซึ่งมีผู้ป่วยมารับบริการมากกว่า 70 คนต่อวัน เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรการหลักกับการบริการทางการแพทย์ ปกติใหม่ ฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) นักตรวจการนอนหลับจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน การให้บริการที่แตกต่างไปจากเดิม เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ผู้มาใช้บริการ

Read More

Pulmonary Langerhans Cell Histiocytosis

บททบทวนวารสาร
Review Article

Pulmonary Langerhans Cell Histiocytosis

Siwadol Sunhapanit, M.D.

Fellow-in-Training
Division of Respiratory Disease and Tuberculosis, Department of Medicine
Faculty of Medicine Siriraj Hospital

Introduction

Langerhans’ cell was discovered by Paul Langerhans in 1868 and named after him. This cell was first described as an extracellular nerve cell from dendritic morphology.(1) Later, this cell was described as an immune cell from as part of the mononuclear phagocyte system in the skin (antigen-presenting cell) and can be found in the other tissue.(2) The unique of Langerhans’ cell which different from other dendritic cell are the present of Birbeck granules and CD1a antigen on their cell surface as well as their origin, yolk-sac progenitor cells, and fetal liver-derived monocytes instead of myeloid progenitor cells(2,3)

Langerhans’ cell histiocytosis (LCH) is one of the histiocytosis disorders, abnormal accumulation of monocyte, macrophage, or dendritic cell in organs. It is a rare disease of inconclusive etiology and has a broad spectrum of clinical manifestations and prognosis.(2–4)This disease was firstly described in 1893 and had many synonyms based on organ involvement.(5,6) LCH can affect all age groups and is divided into systemic LCH (Hand-Schuller-Christian disease, Letterer-Siwe disease) and localized LCH. The latter has a better prognosis.(7) Pulmonary Langerhans’ cell histiocytosis (PLCH) can be found either in isolated PLCH or systemic LCH(8)

Read More

คลังวารสาร | ARCHIVE

พ.ศ. | Yearปีที่ | Volumeฉบับที่ 1 | Issue 1ฉบับที่ 2 | Issue 2ฉบับที่ 3 | Issue 3ฉบับที่ 4 | Issue 4
2565 | 202241PDFPDFPDF
2564 | 202140PDFPDFPDF
2563 | 202039PDFPDFPDF
2562 | 201938PDFPDFPDF
2561 | 201837PDFPDFPDF
2560 | 201736PDFPDFPDF
2557 | 201435PDFPDFPDFPDF
2556 | 201334PDFPDFPDFPDF
2555 | 201233PDFPDFPDFPDF
2554 | 201132PDFPDFPDFPDF
2553 | 201031PDFPDFPDFPDF
2552 | 200930PDFPDFPDFPDF
2551 | 200829PDFPDFPDFPDF
2550 | 200728PDFPDFPDFPDF
2549 | 200627PDFPDFPDFPDF
2548 | 200526PDFPDFPDFPDF
2547 | 200425PDFPDFPDFPDF
2546 | 200324PDFPDFPDFPDF